วันพุธที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2558

วิศวกรที่ดี คือ อะไร

ท่ามกลางกระแสแห่งความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีในศตวรรษที่21 "วิศวกร" ถือเป็นอาชีพที่มีบทบาทสำคัญในการพัฒนานวัตกรรมต่างๆมากมาย ด้วยเหตุนี้จึงทำให้มีผู้คนสนใจประกอบอาชีพวิศวกรรมกันอย่างแพร่หลายมากขึ้นเรื่อยๆ


การที่จะประกอบอาชีพวิศวกรรมนั้นไม่ใช่เพียงแต่เรียนจบแล้วทำงานไปเท่าที่ได้ร่ำเรียนมาเท่านั้น แต่ต้องสามารถเป็นวิศวกรที่ดีได้ด้วย


หลายๆคนอาจคิดว่าเรียนจบคณะวิศวกรรมศาสตร์ในมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงด้วยเกรดเฉลี่ยสูงๆก็สามารถเป็นวิศวกรที่ดี มีคุณภาพได้ แต่ในความเป็นจริงแล้วการที่จะเป็นวิศวกรที่ดีนั้นไม่ได้วัดที่ชื่อเสียงของมหาวิทยาลัยและเกรดเฉลี่ยที่ทำได้ หากแต่ต้องอาศัยสิ่งต่างๆมากกว่าความรู้ที่ได้เรียนมาจากมหาวิทยาลัยทั้งสิ้น


ดังนั้นแล้วทุกคนที่ต้องการเป็นวิศวกรที่ดี พึงต้องแสวงหาความรู้และประสบการณ์เพิ่มเติมอยู่เสมอ เพื่อพัฒนาทั้งตนเอง และสังคมให้เจริญก้าวหน้าต่อไปในอนาคต


วิศวกรที่ดี คือ ผู้ที่ประกอบอาชีพวิศวกรรมที่ปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิศวกร เป็นผู้มีความยุติธรรม รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความเป็นเป็นผู้นำ และสามารถแก้ไขปัญหาต่างๆได้อย่างมีหลักการและเหตุผล

9 ความคิดเห็น:

  1. การเป็นวิศวกรที่ดีและเด็กอาชีวะที่ดี
    หลายคนที่อยากเป็นวิศวกร อาจคิดว่า
    ถ้าหากเรียนคณะวิศวกรรมศาสตร์และจบด้วยเกรดเฉลี่ยสูงแล้ว
    ก็จะเป็นวิศวกรที่ดีได้เลย จริงๆ แล้วการเป็นวิศวกรที่ดีนั้น
    ต้องอาศัยมากกว่าความรู้ที่ได้เรียนมาในมหาวิทยาลัย


    คุณสมบัติข้อแรกที่วิศวกรที่ดีควรมีคือ ความสามารถในการสื่อสาร (communication skill) เ
    นื่องจากวิศวกรต้องทำงานเป็นทีมร่วมกับผู้อื่น มักจะมีทั้งผู้ร่วมงาน
    เจ้านาย และลูกน้อง หากวิศวกรคนใดไม่สามารถพูดหรือเขียนให้คนอื่นเข้าใจได้
    หรือนำเสนองานหรือไอเดียให้คนอื่นเ้ข้าใจและเห็นด้วยตามเหตุผลแล้ว
    ความรู้ที่วิศวกรคนนั้นมีก็อาจจะไม่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้มากนัก

    คุณสมบัติอีกข้อหนึ่งที่เกี่ยวข้องและใกล้เคียงกับข้อแรกคือ ทักษะภาษาอังกฤษ (English skill) เ
    นื่องจากในปัจจุบันบริษัทระดับนานาชาติได้เข้ามาลงทุนและตั้งในประเทศไทย
    หรือคนไทยก็สามารถร่วมงานกับบริษัทที่อยู่ต่างประเทศได้ผ่านการใช้เทคโนโลยี
    อินเทอร์เน็ตเป็นต้น
    เพราะฉะนั้นวิศวกรคนไหนที่มีความสามารถและทักษะภาษาอังกฤษก็สามารถที่จะทำงา
    นในบริษัทระัดับนานาชาิติได้ดี
    อีกทั้งสามารถแสวงหาความรู้มากมายในภาษาอังกฤษ

    คุณสมบัติข้อต่อไปที่สำคัญมากคือ ความสามารถในการทำงานเป็นทีม (Team Working skill)

    ปรเจกต์ส่วนใหญ่ที่วิศวกรต้องดำเนินงานจนแล้วเสร็จนั้นต้องอาศัยการทำงานเป็
    นทีม ซึ่งวิศวกรที่ดีควรจะเป็นได้ทั้งผู้นำที่ดีและผู้ตามที่ดีได้
    สามารถจะำทำงานร่วมกับผู้อื่นจนงานสำเร็จ
    และมีความสุขในการทำงานร่วมกับผู้อื่น

    คุณสมบัติีอีกข้อหนึ่งที่สำคัญที่ต้องมีคือ ความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-learning skill) ว
    ิศวกรที่ดีจะต้องมีความสามารถในการเรียนรู้เรื่องต่างๆ
    ที่เกี่ยวข้องกับงานด้วยตนเอง
    ไม่ควรจะรอให้ผู้อื่นมาให้การอบรมหรือสอนให้อย่างเดียว
    เพราะเทคโนโลยีต่างๆ มีการเปลี่ยนแปลงไม่หยุด หากวิศวกรคนใดรอคนอื่นสอน
    ก็จะไม่สามารถนำเทคโนโลยนั้นมาประยุกต์ใช้งานได้ทันการ

    คุณสมบัติอีกประการหนึ่งที่สำคัญไม่น้อยกว่าข้ออื่นคือ ความสามารถในการแก้ปัญหา (Problem Solving skill) เ
    ป็นธรรมดาเมื่อเราทำงาน ย่อมมีปัญหา
    แต่ว่าวิศวกรที่ดีต้องสามารถแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นได้
    หรือร่วมมือกับผู้อื่นที่มีความสามารถจนร่วมกันแก้ปัญหาได้
    ซึ่งความสามารถในการแก้ปัญหา ต้องอาศัยความรู้
    การคิดวิเคราะห์ถึงสาเหตุของปัญหา
    การตั้งสมมุติฐานที่ดีที่สามารถนำไปสู่การแก้ปัญหาได้

    credit http://www.stjohn.ac.th/vocational/depart/index02.php?idtext=6

    ตอบลบ
  2. เรามาเรียบเรียงสั้นๆ ง่ายๆ เป็นหัวข้อดีไหมอะ OK นะ

    ตอบลบ
  3. เทคนิคง่ายๆสำหรับเป็น วิศวกร ที่ดี

    1.รู้จัก นำตนเอง
    การรู้จักนำตนเอง และแสดงออกถึงความเชื่อมั่นในตนเอง จะทำให้ผู้นำ/ผู้จัดการ เกิดความไว้วางใจที่จะมอบหมายหน้าที่รับผิดชอบต่างๆ ให้เรา ซึ่งการแสดงออกถึงการเป็นผู้ที่รู้จักนำตัวเองก็ได้แก่
    - มีความคิดสร้างสรรค์ และรู้จักริเริ่มทำอะไรใหม่ๆ
    - รู้จักดูแลรับผิดชอบตัวเอง รับผิดชอบต่องานอย่างเต็มที่
    - แสดงความไม่เห็นด้วยอย่างเปิดเผย เมื่อเห็นสมควร แต่ไม่ก้าวร้าว
    ฯลฯ

    2. มีความมุ่งมั่นและพันธะหน้าที่ต่อประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตัว
    คำ ว่าส่วนตัวในที่นี้ไม่ได้หมายถึงเราคนเดียว แต่หมายรวมไปถึงผู้บังคับบัญชาของเราด้วย การซื่อสัตย์ต่อหัวหน้าเป็นสิ่งที่ดี แต่การทุ่มเททำอะไรตามความต้องการของหัวหน้าโดยไม่ลืมหูลืมตานั ้นเป็นสิ่งที่ไม่ควรทำ เพราะบางครั้งเป้าหมายของหัวหน้าอาจไม่สอดคล้องกับเป้าหมายของอ งค์กร /ของทีม ซึ่งหน้าที่ของเราคือให้พยายามดึงผู้นำให้หันกลับมามองเป้าหมายของส่วนรวม

    3. รู้จักพัฒนาความรู้ความสามารถและสร้างความน่าเชื่อถือให้แก่ตนเอง
    ไม่ ต้องรอให้เจ้านายมาสั่งให้ไปสัมมนาที่โน่น หรือไปอบรบที่นี่ แต่เราจะต้องเป็นฝ่ายบอกเจ้านายเองว่ามีโปรแกรมอะไร ที่ตนเห็นว่าจะพัฒนาความสามารถของผู้ร่วมงานและของเราได้

    4. ปฏิบัติงานอย่างมีสำนึกผิดชอบชั่วดี
    ตรงไปตรงมา ซื่อสัตย์ต่อหน้าที่ มีจรรยาบรรณในการทำงาน

    5. ควบคุมอัตตาและอารมณ์ของตนเองในการทำงานร่วมกับผู้นำ
    เมื่อ มีการทำงาน ร่วมกันของคนตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ความขัดแย้งก็ดูเหมือนจะเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ และเมื่อมันเกิดขึ้น เราก็จะต้องพยายามควบคุมอัตตาของตัวเองไว้ เพื่อไม่ให้ความขัดแย้งนั้นลุกลามใหญ่โต ซึ่งการจะทำให้ผู้นำยอมรับฟังความคิดเห็นที่ตรงข้ามกับความคิดข องเขา และไม่ทำให้เกิดผลเสียใดๆ ต่อหน้าที่การงานของเราตามมานั้น มีดังนี้
    - พยายามเข้าใจ และมองผู้นำในแง่บวก
    - ค้นหาข้อเท็จจริงเกี่ยวกับสถานการณ์หรือปัญหาให้พร้อมมูล ก่อนจะโต้แย้งกับผู้นำ
    - แสวงหาข้อแนะนำในเรื่องนั้นจากคนรอบด้าน
    - ดำเนินงานอย่างมีระบบ
    - รู้จักโน้มน้าวจิตใจผู้นำ
    - หาแนวร่วม

    credit http://www.4wengineering.com/index.php?lay=boardshow&ac=webboard_show&WBntype=1&No=1386523

    ตอบลบ
  4. Exercises That Will Make You A Better Engineer

    It is so easy to distinguish an engineer (or an engineer to be) from a non-engineer. When we interview people for a software engineering position, we want to determine how much of an engineer the candidate is. That’s why we ask a fair amount of questions apparently unrelated to software. Real engineers focus on the problem, break it into pieces, and analyze them. They translate the problem into their “own words”, making analogies with common, easy-to-understand processes. Once their solution is challenged, they are able to optimize and explain it.

    Non-engineers on the other hand tend to scratch the surface of the problem and come up with a quick solution. When challenged with questions, they get defensive saying that it’s not something they ever studied or ever did and that’s why they cannot propose a better solution.

    The truth is not everyone is born to be an engineer. And still, many schools pretend to be able to train people in becoming one. :) Jokes aside, engineering is not something you are born with, well … maybe exceptional capabilities. Anyone can train to become a decent engineer. Unfortunately, schools are not of great help. For example, software engineering schools train students in a lot of things, because knowing as much as possible about computers is definitely good. Certainly, it’s necessary, but not enough.


    Computing helps people and the final goal of a software engineer is to make things possible. Of course, the way things are built matters, but the final objective is to improve someone’s life. Many times, engineers forget about the final goal, usually because they are educated to focus on the inner layers.

    Fortunately, there are ways you can train yourself to become a better engineer.

    ตอบลบ
  5. ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ

    ตอบลบ
  6. 1. Ask Yourself Questions. A Lot Of Them!

    I do not mean questions related to your work (I assume you are already doing this), but situational questions in general. In short, be inquisitive. I remember that, when I was about seven years old, I noticed that generally the braking distance does not depend on the car weight. For almost a month, I tried to find an explanation for it…

    It might seem pointless to ask yourself questions for which you can very easily find the answer on the Internet, but training your brain is really a good thing. Some people prefer to lift weights, you should lift problems.

    2. Validate Your Findings.

    Assuming you’ve already found some answers, do some research on the Internet. Understanding how far your approach was from ideal may be very rewarding.

    3. Put Yourself In Charge.

    There are many ways to do a specific thing, but some ways are better than others. Engineers are change agents. You can imagine what would have happened if Einstein had taken everything for granted. Yes, I think Einstein was a great engineer, as he was able to connect the dots.

    4. Learn How To Ask Questions.

    No matter who you ask questions – yourself or others, there has to be a process that starts with the overall picture and ends with the last detail. To me, the process of asking questions is very much like Google Maps. First, you get the picture of the entire region and afterwards you may zoom in. The basic set of questions imply at least a “what”, a “how”, a “when”, and a “where”. Sometimes, you may need to ask more, but always ask “what” and “how” (in this order).

    Having a strategy for asking questions is one of the most important things you can do – never break the rule and try to make other people follow the process. Otherwise, simple things like meetings, for instance, can turn into mess.

    5. Don’t Be Afraid Of Making Mistakes.

    Great engineers make big mistakes. People who do not want to make mistakes live by the book. For example, in software engineering there is a solution for almost anything. All you need is a little bit of research. I like it when people still try to build greater things, even though they failed in the past. It’s really no shame to fail. With engineering in particular, lots of things can go wrong and many lands remain unexplored. Because most people choose to walk the line.

    I do not particularly like people who give up once they discover that other people tried the same thing and failed. Before anything else, it is important to understand why other attempts failed. Just because other people failed doesn’t mean you should abandon.

    6. Don’t Be Afraid Of Fixing Mistakes.

    Always fix and improve. For example, very few people are able to acknowledge mistakes and fix them. When it comes to engineering, denying mistakes leads to extremely poor results. In software engineering, this may turn out to be a big issue, because things can get crazy when you somehow know that a component is broken and, instead of fixing it, you simply wrap it up with layers that eventually try to deal with the source of failure.

    7. Befriend The Impossible.

    If you assume something is not going to happen simply because chances are slim, bad news – it will in fact happen at the worst moment possible. As an engineer, try to identify the things that got overlooked and anticipate the worst-case scenario; there might be a few. Predicting the unpredictable is a highly important engineering task!

    It is actually hard to be a good software engineer. Computing can be very anti-engineering, as it’s closer to mathematics than to physics. The already known resolution is the best place to start. This makes people forget about engineering and, eventually, even promising engineers take the paved road.

    credit http://blog.4psa.com/exercises-that-will-make-you-a-better-engineer/

    ตอบลบ
  7. สรุป

    วิศวกรที่ดี คือ ผู้ที่ประกอบอาชีพวิศวกรที่มีคุณสมบัติดังต่อไปนี้
    1.ความสามารถในการสื่อสาร (communication skill)
    - สามารถอธิบายถึงสิ่งต่างๆได้อย่างมีเหตุผล
    - สามารถสื่อสารให้ผู้อื่นเข้าใจและเห็นด้วนตามเหตุผล
    2.ความสามารถในการทำงานเป็นทีม (Team Working skill)
    - วิศวกรที่ดีควรจะเป็นได้ทั้งผู้นำที่ดีและผู้ตามที่ดีได้
    - สามารถจะำทำงานร่วมกับผู้อื่นจนงานสำเร็จและมีความสุขในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
    3.ความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-learning skill)
    - วิศวกรที่ดีจะต้องมีความสามารถในการเรียนรู้เรื่องต่างๆที่เกี่ยวข้องกับงานด้วยตนเอง
    ไม่ควรจะรอให้ผู้อื่นมาให้การอบรมหรือสอนให้อย่างเดียวเพราะเทคโนโลยีต่างๆ มีการเปลี่ยนแปลงไม่หยุด หากวิศวกรคนใดรอคนอื่นสอนก็จะไม่สามารถนำเทคโนโลยนั้นมาประยุกต์ใช้งานได้ทันการ
    4.ความสามารถในการแก้ปัญหา (Problem Solving skill)
    - วิศวกรที่ดีต้องสามารถแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นได้หรือร่วมมือกับผู้อื่นที่มีความสามารถจนร่วมกันแก้ปัญหาได้
    - สามารถคิดวิเคราะห์ถึงสาเหตุของปัญหา และตั้งสมมุติฐานที่ดีที่สามารถนำไปสู่การแก้ปัญหาได้

    ตอบลบ
  8. ท่ามกลางกระแสแห่งความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีในศตวรรษที่21 "วิศวกร" ถือเป็นอาชีพที่มีบทบาทสำคัญในการพัฒนานวัตกรรมต่างๆมากมาย ด้วยเหตุนี้จึงทำให้มีผู้คนสนใจประกอบอาชีพวิศวกรรมกันอย่างแพร่หลายมากขึ้นเรื่อยๆ
    การที่จะประกอบอาชีพวิศวกรรมนั้นไม่ใช่เพียงแต่เรียนจบแล้วทำงานไปเท่าที่ได้ร่ำเรียนมาเท่านั้น แต่ต้องสามารถเป็นวิศวกรที่ดีได้ด้วย
    หลายๆคนอาจคิดว่าเรียนจบคณะวิศวกรรมศาสตร์ในมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงด้วยเกรดเฉลี่ยสูงๆก็สามารถเป็นวิศวกรที่ดี มีคุณภาพได้ แต่ในความเป็นจริงแล้วการที่จะเป็นวิศวกรที่ดีนั้นไม่ได้วัดที่ชื่อเสียงของมหาวิทยาลัยและเกรดเฉลี่ยที่ทำได้ หากแต่ต้องอาศัยสิ่งต่างๆมากกว่าความรู้ที่ได้เรียนมาจากมหาวิทยาลัยทั้งสิ้น
    วิศวกรที่ดี คือ ผู้ที่ประกอบอาชีพวิศวกรรมที่ปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิศวกร เป็นผู้มีความยุติธรรม รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความเป็นเป็นผู้นำ และสามารถแก้ไขปัญหาต่างๆได้อย่างมีหลักการและเหตุผล
    ดังนั้นแล้วทุกคนที่ต้องการเป็นวิศวกรที่ดี พึงต้องแสวงหาความรู้และประสบการณ์เพิ่มเติมอยู่เสมอ เพื่อพัฒนาทั้งตนเอง และสังคมให้เจริญก้าวหน้าต่อไปในอนาคต

    ตอบลบ